วันอังคารที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันพุธที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันจันทร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2554
ธุรกิจขายตรง แชร์ลูกโซ่ ธุรกิจเครือข่าย ต่างกันอย่างไร
ธุรกิจขายตรง แชร์ลูกโซ่ ธุรกิจเครือข่าย ต่างกันอย่างไร
ธุรกิจขายตรง
เป็นจุดกำเนิดของธุรกิจทั้ง3รูปแบบเลยก็ว่าได้ลักษณะการทำธุรกิจ
ธุรกิจขายตรงสังเกตง่ายๆดูที่รายได้หลักของบริษัท จะได้มาจากการขายนั่นเอง
รายหลักได้ของสมาชิกที่ทำธุรกิจขายตรง ก็ได้มาจากเปอร์เซ็นต์จากการขาย
ดังนั้นคนที่จะทำธุรกิจนี้ ต้องเป็นนักขายมือทองทีเดียว จึงจะประสบความสำเร็จได้
รวมไปถึงสินค้าที่นำมาจำหน่ายก็ต้องสุดยอด หรือต้องมีจุดขาย ยกตัวอย่างเช่น ธุรกิจประกันชีวิต
แต่ธุรกิจขายตรงจะมีข้อจำกัดอยู่ที่เป็นงานที่ไม่สามารถหยุดทำได้
ธุรกิจขายตรง
เป็นจุดกำเนิดของธุรกิจทั้ง3รูปแบบเลยก็ว่าได้ลักษณะการทำธุรกิจ
ธุรกิจขายตรงสังเกตง่ายๆดูที่รายได้หลักของบริษัท จะได้มาจากการขายนั่นเอง
รายหลักได้ของสมาชิกที่ทำธุรกิจขายตรง ก็ได้มาจากเปอร์เซ็นต์จากการขาย
ดังนั้นคนที่จะทำธุรกิจนี้ ต้องเป็นนักขายมือทองทีเดียว จึงจะประสบความสำเร็จได้
รวมไปถึงสินค้าที่นำมาจำหน่ายก็ต้องสุดยอด หรือต้องมีจุดขาย ยกตัวอย่างเช่น ธุรกิจประกันชีวิต
แต่ธุรกิจขายตรงจะมีข้อจำกัดอยู่ที่เป็นงานที่ไม่สามารถหยุดทำได้
แชร์ลูกโซ่ (ความจริงไม่น่าจัดว่าเป็นธุรกิจได้)
แชร์ลูกโซ่นี้ผิดกฎหมายแต่ถ้าจับไม่ได้คาหนังคาเขา ก็ยังลอยนวลกันไป
แชร์ลูกโซ่นี้ผิดกฎหมายแต่ถ้าจับไม่ได้คาหนังคาเขา ก็ยังลอยนวลกันไป
ลักษณะการทำธุรกิจ
เข้าใจว่าแชร์ลูกโซ่แบบดั้งเดิมนั้นจะหากินโดยใช้วิธีหาสมาชิกโดยบอกสมาชิกว่าให้นำเงินมาลงขันกัน
เพื่อให้บริษัทนำเงินไปลงทุนโดยที่สมาชิกไม่ต้องทำอะไรเลย ผู้คนจึงให้ความสนใจเนื่องจากเห็นว่าไม่ต้องทำอะไรก็ได้เงิน
แต่บริษัทเหล่านี้จะให้ผลตอบแทนเฉพาะในช่วงแรกเท่านั้นเพื่อจูงใจให้ผู้สนใจสมัครเป็นสมาชิกมากขึ้น
แต่เมื่อมีจำนวนสมาชิกมากขึ้นบริษัทก็จะปิดตัวหายเข้ากลีบเมฆไปเลยโดยที่ผู้เสียหายก็ไม่รู้จะไปเรียกร้องเอาเงินคืนจากใคร
เนื่องจากตัวบริษัทหรือที่ทำการบริษัทเหล่านั้นไม่มีอยู่จริง
เข้าใจว่าแชร์ลูกโซ่แบบดั้งเดิมนั้นจะหากินโดยใช้วิธีหาสมาชิกโดยบอกสมาชิกว่าให้นำเงินมาลงขันกัน
เพื่อให้บริษัทนำเงินไปลงทุนโดยที่สมาชิกไม่ต้องทำอะไรเลย ผู้คนจึงให้ความสนใจเนื่องจากเห็นว่าไม่ต้องทำอะไรก็ได้เงิน
แต่บริษัทเหล่านี้จะให้ผลตอบแทนเฉพาะในช่วงแรกเท่านั้นเพื่อจูงใจให้ผู้สนใจสมัครเป็นสมาชิกมากขึ้น
แต่เมื่อมีจำนวนสมาชิกมากขึ้นบริษัทก็จะปิดตัวหายเข้ากลีบเมฆไปเลยโดยที่ผู้เสียหายก็ไม่รู้จะไปเรียกร้องเอาเงินคืนจากใคร
เนื่องจากตัวบริษัทหรือที่ทำการบริษัทเหล่านั้นไม่มีอยู่จริง
แต่ในปัจจุบันก็ได้มีการดัดแปลงธุรกิจให้มีวิธีการหลากหลายมากยิ่งขึ้นโดยจะทำมาหากินกับการหาสมาชิกเป็นหลัก
แล้วก็หักหัวคิวกันเป็นรายๆไป อาจมาในรูปแบบของการหว่านล้อมแกมบังคับให้ซื้อสินค้าจำนวนมากๆ , ค่าสมัครสมาชิกที่แพง
การต่ออายุสมาชิก ฯลฯ ดังนั้นธุรกิจจึงต้องหาสมาชิกตลอดเวลา ไม่มี สคบ. อย. ประเทศไทย
ส่วน สินค้าของธุรกิจนี้แทบจะไม่มีความหมาย หรือแทบจะไม่พูดถึงกันเลยทีเดียว ส่วนมากจะมีตัวสองตัว หรือเป็นสินค้าที่ไม่ความพิเศษอะไรเลย การทำงานจะไม่สามารถหยุดได้ต้องทำกันไปตลอดถึงจะมีรายได้
แล้วก็หักหัวคิวกันเป็นรายๆไป อาจมาในรูปแบบของการหว่านล้อมแกมบังคับให้ซื้อสินค้าจำนวนมากๆ , ค่าสมัครสมาชิกที่แพง
การต่ออายุสมาชิก ฯลฯ ดังนั้นธุรกิจจึงต้องหาสมาชิกตลอดเวลา ไม่มี สคบ. อย. ประเทศไทย
ส่วน สินค้าของธุรกิจนี้แทบจะไม่มีความหมาย หรือแทบจะไม่พูดถึงกันเลยทีเดียว ส่วนมากจะมีตัวสองตัว หรือเป็นสินค้าที่ไม่ความพิเศษอะไรเลย การทำงานจะไม่สามารถหยุดได้ต้องทำกันไปตลอดถึงจะมีรายได้
ปัจจุบันเราจะเห็นการทำธุรกิจประเภทนี้ระบาดหนักใน facebook,Hi5 ซึ่งเป็นการหลอกกินค่าหัวคิวกันเป็นทอดๆ
หลอกคนอื่นได้เยอะก็มีรายได้เยอะแต่มันไม่ยั่งยืนหรหรอกครับ แถมยังบาปอีกด้วย เพราะพวกนี้มันเป็นการหลอกกันแบบซึ่งๆหน้าเลย
ไม่มีการกระจายสินค้า ไม่มีกฎจรรยาบรรณการทำธุรกิจ ผิดกฎหมาย ไม่ผ่าน สคบ. ฯลฯ
ธุรกิจเครือข่าย
ธุรกิจเครือข่ายอยู่ตรงกลางระหว่างขายตรงและแชร์ลูกโซ่ เปรียบเสมือนหมอกและควัน
ที่พูดแบบนั้นเพราะ
1.มันคล้ายกับธุรกิจขายตรงแบบเก่า
ธุรกิจเครือข่ายกระจายสินค้าสู่มือผู้บริโภคโดยผ่านเครือข่ายที่เราสร้างขึ้น
การกระจายสินค้าเป็นไปในลักษณะของการใช้ดีแล้วบอกต่อ ควบคู่กับการนำเสนอโอกาสทางธุรกิจ
โดยทั่วไปการนำเสนอไม่เน้นการขายสินค้าเพียงแต่ชี้ให้เห็นข้อดีและความคุ้มค่าของการทำการตลาดแบบเครือข่าย
หรือการขายไอเดียนั่นเอง ซึ่งมีผลตอบแทนมหาศาลโดยที่ผู้บริโภคไม่ได้เสียอะไร
เพียงแค่เปลี่ยนที่ซื้อสินค้าก็สามารถสร้างธุรกิจได้
ฉะนั้นธุรกิจเครือข่ายโดยส่วนมากที่ดำเนินการถูกต้องตามกฎหมายจะมีสินค้าที่คุณภาพสูงกว่าท้องตลาดเพื่อเป็นจุดขาย
หลอกคนอื่นได้เยอะก็มีรายได้เยอะแต่มันไม่ยั่งยืนหรหรอกครับ แถมยังบาปอีกด้วย เพราะพวกนี้มันเป็นการหลอกกันแบบซึ่งๆหน้าเลย
ไม่มีการกระจายสินค้า ไม่มีกฎจรรยาบรรณการทำธุรกิจ ผิดกฎหมาย ไม่ผ่าน สคบ. ฯลฯ
ธุรกิจเครือข่าย
ธุรกิจเครือข่ายอยู่ตรงกลางระหว่างขายตรงและแชร์ลูกโซ่ เปรียบเสมือนหมอกและควัน
ที่พูดแบบนั้นเพราะ
1.มันคล้ายกับธุรกิจขายตรงแบบเก่า
ธุรกิจเครือข่ายกระจายสินค้าสู่มือผู้บริโภคโดยผ่านเครือข่ายที่เราสร้างขึ้น
การกระจายสินค้าเป็นไปในลักษณะของการใช้ดีแล้วบอกต่อ ควบคู่กับการนำเสนอโอกาสทางธุรกิจ
โดยทั่วไปการนำเสนอไม่เน้นการขายสินค้าเพียงแต่ชี้ให้เห็นข้อดีและความคุ้มค่าของการทำการตลาดแบบเครือข่าย
หรือการขายไอเดียนั่นเอง ซึ่งมีผลตอบแทนมหาศาลโดยที่ผู้บริโภคไม่ได้เสียอะไร
เพียงแค่เปลี่ยนที่ซื้อสินค้าก็สามารถสร้างธุรกิจได้
ฉะนั้นธุรกิจเครือข่ายโดยส่วนมากที่ดำเนินการถูกต้องตามกฎหมายจะมีสินค้าที่คุณภาพสูงกว่าท้องตลาดเพื่อเป็นจุดขาย
เพื่อนๆอ่านแล้วอาจจะงงๆสรุปแล้วต้องขายหรือไม่ขายสินค้ากันแน่?!
สรุปง่ายๆอย่างนี้ครับคือ ไม่ขายสินค้าโดยตรงแต่เป็นการแนะนำให้รู้จักว่าใช้แล้วเห็นผลดีอย่างไร
ซื้อสินค้าใช้แล้วสร้างรายได้มากน้อยขนาดไหน (บางคนไม่พูดถึงสินค้าเลยด้วยซ้ำ)
สมมติว่าปกติเพื่อนๆซื้อยาสีฟันที่ห้างแห่งหนึ่งเป็นประจำ แน่นอนว่ามันเกิดรายจ่ายแน่นอนไม่มีรายรับแต่ประการใด
แต่ถ้าเพื่อนๆเปลี่ยนที่ซื้อมาเป็นบริษัทที่ทำการตลาดแบบเครือข่าย (ที่ถูกต้องตามกฎหมาย มี สคบ.รับรอง)
เพื่อนๆจะได้แต้ม(Point Value)ติดตัวมาด้วยซึ่งไอ้แต้มที่ว่ามันก็คล้ายๆกับ Club Card
เวลาที่เราซื้อของที่ Lotus แต่มันต่างกันตรงที่ว่าในธุรกิจเครือข่ายแต้มของคนที่เราไปแนะนำให้เขามาซื้อ
และแต้มของคนอื่นๆที่อยู่ภายไต้สายงานหรือองค์กรของเราก็จะเป็นแต้มของเราด้วย
และแต้มเหล่านี้เองครับที่นำมาคิดเป็นรายได้ให้แก่สมาชิก และผลตอบแทนที่ได้จากแต้มเหล่านี้มันก็ไม่ใช่ตัวเลขหลักร้อยหลักพัน
แต่มันสามารถสูงถึงหลักแสนหลักล้านเลยทีเดียว แต่การที่เพื่อนๆจะร่วมธุรกิจเครือข่ายได้จะต้องมีนักธุรกิจมาแนะนำ
เพื่อนๆจึงจะสามารถทำธุรกิจได้ (ไม่สามารถสมัครโดยตรงกับบริษัทได้) เพราะเพื่อนๆจะต้องมีคนให้คำแนะนำและสอนงาน
ดังนั้นเราจึงพบว่าธุรกิจเครือข่ายจะต้องมีคนมาแนะนำนู่นนี่ให้เราเห็นอยู่บ่อยๆ
ซึ่งภาพดังกล่าวมันก็คล้ายๆกับการขายตรงแบบเก่าหรือการขายประกัน
แถมธุรกิจเครือข่ายบางตัวยังเน้นการขายสินค้าเป็นประเด็นหลักจึงทำให้ภาพลักษณ์ของธุรกิจเครือข่ายดูเพี้ยนๆไป
แต่ต่างกันตรงที่ธุรกิจเครือข่ายมันเป็นธุรกิจที่หยุดทำได้แต่รายได้ไม่หยุด และเป็นมรดกตกทอดได้
สรุปง่ายๆอย่างนี้ครับคือ ไม่ขายสินค้าโดยตรงแต่เป็นการแนะนำให้รู้จักว่าใช้แล้วเห็นผลดีอย่างไร
ซื้อสินค้าใช้แล้วสร้างรายได้มากน้อยขนาดไหน (บางคนไม่พูดถึงสินค้าเลยด้วยซ้ำ)
สมมติว่าปกติเพื่อนๆซื้อยาสีฟันที่ห้างแห่งหนึ่งเป็นประจำ แน่นอนว่ามันเกิดรายจ่ายแน่นอนไม่มีรายรับแต่ประการใด
แต่ถ้าเพื่อนๆเปลี่ยนที่ซื้อมาเป็นบริษัทที่ทำการตลาดแบบเครือข่าย (ที่ถูกต้องตามกฎหมาย มี สคบ.รับรอง)
เพื่อนๆจะได้แต้ม(Point Value)ติดตัวมาด้วยซึ่งไอ้แต้มที่ว่ามันก็คล้ายๆกับ Club Card
เวลาที่เราซื้อของที่ Lotus แต่มันต่างกันตรงที่ว่าในธุรกิจเครือข่ายแต้มของคนที่เราไปแนะนำให้เขามาซื้อ
และแต้มของคนอื่นๆที่อยู่ภายไต้สายงานหรือองค์กรของเราก็จะเป็นแต้มของเราด้วย
และแต้มเหล่านี้เองครับที่นำมาคิดเป็นรายได้ให้แก่สมาชิก และผลตอบแทนที่ได้จากแต้มเหล่านี้มันก็ไม่ใช่ตัวเลขหลักร้อยหลักพัน
แต่มันสามารถสูงถึงหลักแสนหลักล้านเลยทีเดียว แต่การที่เพื่อนๆจะร่วมธุรกิจเครือข่ายได้จะต้องมีนักธุรกิจมาแนะนำ
เพื่อนๆจึงจะสามารถทำธุรกิจได้ (ไม่สามารถสมัครโดยตรงกับบริษัทได้) เพราะเพื่อนๆจะต้องมีคนให้คำแนะนำและสอนงาน
ดังนั้นเราจึงพบว่าธุรกิจเครือข่ายจะต้องมีคนมาแนะนำนู่นนี่ให้เราเห็นอยู่บ่อยๆ
ซึ่งภาพดังกล่าวมันก็คล้ายๆกับการขายตรงแบบเก่าหรือการขายประกัน
แถมธุรกิจเครือข่ายบางตัวยังเน้นการขายสินค้าเป็นประเด็นหลักจึงทำให้ภาพลักษณ์ของธุรกิจเครือข่ายดูเพี้ยนๆไป
แต่ต่างกันตรงที่ธุรกิจเครือข่ายมันเป็นธุรกิจที่หยุดทำได้แต่รายได้ไม่หยุด และเป็นมรดกตกทอดได้
2.มันคล้ายกับแชร์ลูกโซ่ ตรงที่การทำธุรกิจต้องอาศัยการบอกต่อ
แต่สำหรับแชร์ลูกโซ่เพื่อนๆจะไม่ได้รู้รายละเอียดใดๆเลยนอกจากแค่การบอกว่าเป็นงานง่ายๆทำวันละ2-3ชั่วโมงรายได้เป็นแสน
พอเอาเข้าจริงมันก็คือการไปหลอกคนอื่นต่อกันไปเรื่อยๆ หยุดทำก็หยุดได้เงิน
ถ้าเรามีความรู้ผิวเผินอาจโดนหลอกไปทำแชร์ลูกโซ่แล้วคุณก็จะเกลียดธุรกิจเครือข่ายไปในตัวเพราะคุณนึกว่ามันคือตัวเดียวกัน
แต่สำหรับธุรกิจเครือข่ายนั้นสามารถสร้างรายได้หลักแสนหลักล้านได้แน่นอนแต่ก็ไม่ใช่ว่ามันจะเป็นงานง่ายๆ
และก็ไม่ใช่ว่ามันยากเกินความพยายามของคนเมื่อเทียบกับรายได้หลักแสนต่อเดือน
ซึ่งถ้าเป็นอาชีพอื่นคุณต้องเป็นระดับ CEO แหละครับถึงจะมีรายได้หลักแสน
เอาง่ายๆคือถ้าเพื่อนๆเป็นคนที่มีความพยายาม มีวินัยผมว่าเพื่อนๆทำอาชีพนักธุรกิจเครือข่ายสำเร็จแน่นอนครับ
ถามว่าต้องมีความพยายามระดับไหนล่ะ? ก็อย่างเช่นเพื่อนๆสามารถเรียนจบมหาลัยได้
เพราะถ้าเทียบกันแล้วผมว่าการเรียนกว่าจะจบได้นั้นมันยากกว่าทำธุรกิจเครือข่ายเยอะครับ
แต่ธุรกิจเครือข่ายมันไม่มีใครมาบังคับเรา เราก็เลยอาจจะถอดใจเลิกทำดื้อๆไปเลย
บางคนไม่จบมหาลัยก็ทำสำเร็จมาเยอะแยะครับแต่ประเด็นก็คือมีความพยายาม และมีวินัยนั่นแหล่ะครับ
ลักษณะการทำธุรกิจแต่สำหรับแชร์ลูกโซ่เพื่อนๆจะไม่ได้รู้รายละเอียดใดๆเลยนอกจากแค่การบอกว่าเป็นงานง่ายๆทำวันละ2-3ชั่วโมงรายได้เป็นแสน
พอเอาเข้าจริงมันก็คือการไปหลอกคนอื่นต่อกันไปเรื่อยๆ หยุดทำก็หยุดได้เงิน
ถ้าเรามีความรู้ผิวเผินอาจโดนหลอกไปทำแชร์ลูกโซ่แล้วคุณก็จะเกลียดธุรกิจเครือข่ายไปในตัวเพราะคุณนึกว่ามันคือตัวเดียวกัน
แต่สำหรับธุรกิจเครือข่ายนั้นสามารถสร้างรายได้หลักแสนหลักล้านได้แน่นอนแต่ก็ไม่ใช่ว่ามันจะเป็นงานง่ายๆ
และก็ไม่ใช่ว่ามันยากเกินความพยายามของคนเมื่อเทียบกับรายได้หลักแสนต่อเดือน
ซึ่งถ้าเป็นอาชีพอื่นคุณต้องเป็นระดับ CEO แหละครับถึงจะมีรายได้หลักแสน
เอาง่ายๆคือถ้าเพื่อนๆเป็นคนที่มีความพยายาม มีวินัยผมว่าเพื่อนๆทำอาชีพนักธุรกิจเครือข่ายสำเร็จแน่นอนครับ
ถามว่าต้องมีความพยายามระดับไหนล่ะ? ก็อย่างเช่นเพื่อนๆสามารถเรียนจบมหาลัยได้
เพราะถ้าเทียบกันแล้วผมว่าการเรียนกว่าจะจบได้นั้นมันยากกว่าทำธุรกิจเครือข่ายเยอะครับ
แต่ธุรกิจเครือข่ายมันไม่มีใครมาบังคับเรา เราก็เลยอาจจะถอดใจเลิกทำดื้อๆไปเลย
บางคนไม่จบมหาลัยก็ทำสำเร็จมาเยอะแยะครับแต่ประเด็นก็คือมีความพยายาม และมีวินัยนั่นแหล่ะครับ
ธุรกิจนี้มีสินค้าจำหน่าย แต่ไม่ได้เน้นให้เอาไปขายใคร คือเน้นให้สมาชิกได้ใช้เป็นหลัก
ดังนั้นสินค้าของธุรกิจนี้จะต้องสุดยอดเช่นกันเพื่อให้เกิดการใช้ซ้ำ สินค้าควรมีความโดดเด่น เป็นความต้องการของผู้บริโภค มี อย.ในหลายประเทศยิ่งดี มีแผนตอบแทนรายได้แก่นักธุรกิจที่ชัดเจน แน่นอน
การทำธุรกิจเครือข่ายจึงมีแรงขับเคลื่อนจากสองทางนั่นคือ
1.มาจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค และการอุปโภคเหล่านี้เองที่ทำให้เกิดรายได้สะท้อนกลับมา
2.แรงขับเคลื่อนจากผลตอบแทนในการทำธุรกิจเนื่องจากมีผลตอบแทนที่คุ้มค่า ข้อนี้เองที่เป็นแรงผลักดันตัวสำคัญในการขยายเครือข่ายอย่างรวดเร็ว
โดยส่วนมากแล้วบริษัทที่ทำเป็นเครือข่าย จะสามารถทำเป็นแบบขายตรงได้ด้วย
ดังนั้นบริษัทเดียวกัน คุณอาจจะเห็นสมาชิกบริษัทนั้น มีทั้งสไตล์ขายตรง และสไตล์เครือข่าย
ต่อไปนี้คุณคงไม่สับสนแล้ว เพราะบางท่านก็ยังไม่รู้ตัวว่าทำทั้ง 2 สไตล์เลย
ประวัติของธุรกิจเครือข่าย (MLM)...
ประวัติของธุรกิจเครือข่าย (MLM)...
MLM คืออะไร
Multi-level Marketing การตลาดแบบขายตรงหลายชั้น
การตลาดขายตรงหลายชั้น Multi-level Marketing หรือที่เรียกกันว่าการตลาดแบบเครือข่าย Network Marketing นั้นเป็นหลักการตลาดที่ให้ผู้คนจำนวนมากเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค
โดยผู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆนั้นจะได้รับผลตอบแทนจากกิจกรรมที่ทำ เช่นแนะนำสินค้า การให้ผู้บริโภครายอื่นๆเข้ามาร่วมเป็นผู้จำหน่ายสินค้า โดยแบ่งเป็นผลตอบแทนจากการทำธุรกิจเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไปตามเงื่อนไขของแต่ละแบบแผน
ดังนั้นหน้าที่หลักในกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคตั้งแต่ การโฆษณาสินค้า หาตัวแทนจำหน่าย จัดจำหน่าย การขาย ขนส่งไปจนถึงผู้บริโภค จะมีผู้ร่วมธุรกิจเข้าไปมีส่วนร่วมเป็นจำนวนมาก
โดยทำหน้าที่ต่างๆกันไป ทำให้เกิดการขับเคลื่อนทางการตลาดที่มีศักยภาพสูงมากและมีความรวดเร็วในการกระจายสินค้าสูง และเป็นธุรกิจที่มีต้นทุนในการเริ่มต้นที่ต่ำอย่างไม่เคยมีมาก่อน
โดยผู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆนั้นจะได้รับผลตอบแทนจากกิจกรรมที่ทำ เช่นแนะนำสินค้า การให้ผู้บริโภครายอื่นๆเข้ามาร่วมเป็นผู้จำหน่ายสินค้า โดยแบ่งเป็นผลตอบแทนจากการทำธุรกิจเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไปตามเงื่อนไขของแต่ละแบบแผน
ดังนั้นหน้าที่หลักในกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคตั้งแต่ การโฆษณาสินค้า หาตัวแทนจำหน่าย จัดจำหน่าย การขาย ขนส่งไปจนถึงผู้บริโภค จะมีผู้ร่วมธุรกิจเข้าไปมีส่วนร่วมเป็นจำนวนมาก
โดยทำหน้าที่ต่างๆกันไป ทำให้เกิดการขับเคลื่อนทางการตลาดที่มีศักยภาพสูงมากและมีความรวดเร็วในการกระจายสินค้าสูง และเป็นธุรกิจที่มีต้นทุนในการเริ่มต้นที่ต่ำอย่างไม่เคยมีมาก่อน
ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการของ MLM
การขายตรงนั้นสามารถย้อนกลับไปยาวนานพอๆกับประวัติศาสตร์ของมนุษย์ ก่อนจะมีการใช้เงินมนุษย์เราแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกันโดยตรง อย่างไรก็ดีการขายในลักษณะขายตรงที่เป็นแม่แบบของการขายตรงยุคปัจจุบันนี้เริ่มมาประมาณปี 1740 โดยสองพี่น้อง Edward และ William Pattison ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องใช้จากตะกั่ว ได้ทำการเร่ขายสินค้าไปตามบ้าน (ในลักษณะการขายตรง) โดยจะเดินทางในรถลากเล็กๆบรรทุกสินค้าไปขายให้กับผู้บริโภคโดยตรง ซึ่งเรียกว่า Yankee Peddler
ในปี 1868 เกิดบริษัทขายตรงที่ขายสินค้าเครื่องเทศตามบ้านและสินค้าอาหาร ชื่อ Watkins Company
ปี 1855 บริษัท Southwestern Publishing Company ตั้งขึ้นเพื่อผลิตหนังสือและคัมภีร์ไบเบิล
และในปี 1868 บริษัท ปรับปรุงบริษัทให้เป็นบริษัทขายตรง โดยให้นักศึกษาในมหาวิทยาลัยเข้ามาเป็นตัวแทนขาย
ในปี 1868 เกิดบริษัทขายตรงที่ขายสินค้าเครื่องเทศตามบ้านและสินค้าอาหาร ชื่อ Watkins Company
ปี 1855 บริษัท Southwestern Publishing Company ตั้งขึ้นเพื่อผลิตหนังสือและคัมภีร์ไบเบิล
และในปี 1868 บริษัท ปรับปรุงบริษัทให้เป็นบริษัทขายตรง โดยให้นักศึกษาในมหาวิทยาลัยเข้ามาเป็นตัวแทนขาย
ปี1886 บริษัท Avon เริ่มต้นบริษัทแบบขายตรง โดย David McConnel เขาได้เริ่มด้วยการขายคัมภีร์ไบเบิลและแถมตัวอย่างน้ำหอมไปตามบ้าน น้ำหอมที่แถมนั้นปรากฏว่าเป็นที่นิยมอย่างมาก จนเขาได้ก่อตั้งบริษัท California Perfume Company ซึ่งภายหลังเปลี่ยนเป็นชื่อ Avon
ในปี 1939 จนกลายเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ New York Stock Exchange และได้พัฒนาแผนการจ่ายผลตอบแทนให้เป็น MLM ให้ที่สุด
ระบบการขายตรงสมัยใหม่เริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้นเมื่อปี 1906 โดย Alfred Fuller ซึ่งอยู่ที่เมือง New Britain ในมลรัฐ Colorado ได้ก่อตั้งบริษัท Fuller Brush Company ซึ่งเริ่มทำการขายตรงแบบ Door-to-door ซึ่งถือว่าเป็นการเริ่มรูปแบบการขายตรงสมัยใหม่
ภายหลังบริษัทได้ปรับปรุงแผนการตลาดของตนให้เป็นแบบ MLM แต่ก็ไม่ประสบความสพเร็จมากนัก เพราะเหล่าสมาชิกต่างมีความเป็นนักขาย (Salespeople) มากกว่าเป็นนักขยายเครือข่าย (Recruiters)
อย่างไรก็ดีก่อนปี 1950 การขายตรงส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะ Party Plan คือการตลาดผลิตภัณฑ์โดยการจัดแสดงและเป็นเจ้าภาพในงานปาร์ตี้หรืองานทางสังคมต่างๆ โดยใช้งานสังคมต่างๆนั้นเป็นจุดแสดงและสาธิตสินค้า โดยให้ผู้ที่เข้าร่วมงานได้เห็นการสาธิตสินค้าและการทดลองสินค้าจริง แล้วก็รับรายการสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้าโดยตรง เพื่อจัดส่งสินค้าให้ต่อไป
ในปี 1950 เป็นยุคที่การตลาดแบบขายตรงหลายชั้นหรือการตลาดแบบเครือข่ายถือกำเนิดอย่างแท้จริง เป็นยุคที่บริษัทยักษ์ใหญ่ของวงการ MLM มากมายได้ถือกำเนิดขึ้น บริษัทเหล่านี้คือ Tupperware, Shaklee, Amway และ Mary Kay
ในปี 1939 จนกลายเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ New York Stock Exchange และได้พัฒนาแผนการจ่ายผลตอบแทนให้เป็น MLM ให้ที่สุด
ระบบการขายตรงสมัยใหม่เริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้นเมื่อปี 1906 โดย Alfred Fuller ซึ่งอยู่ที่เมือง New Britain ในมลรัฐ Colorado ได้ก่อตั้งบริษัท Fuller Brush Company ซึ่งเริ่มทำการขายตรงแบบ Door-to-door ซึ่งถือว่าเป็นการเริ่มรูปแบบการขายตรงสมัยใหม่
ภายหลังบริษัทได้ปรับปรุงแผนการตลาดของตนให้เป็นแบบ MLM แต่ก็ไม่ประสบความสพเร็จมากนัก เพราะเหล่าสมาชิกต่างมีความเป็นนักขาย (Salespeople) มากกว่าเป็นนักขยายเครือข่าย (Recruiters)
อย่างไรก็ดีก่อนปี 1950 การขายตรงส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะ Party Plan คือการตลาดผลิตภัณฑ์โดยการจัดแสดงและเป็นเจ้าภาพในงานปาร์ตี้หรืองานทางสังคมต่างๆ โดยใช้งานสังคมต่างๆนั้นเป็นจุดแสดงและสาธิตสินค้า โดยให้ผู้ที่เข้าร่วมงานได้เห็นการสาธิตสินค้าและการทดลองสินค้าจริง แล้วก็รับรายการสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้าโดยตรง เพื่อจัดส่งสินค้าให้ต่อไป
ในปี 1950 เป็นยุคที่การตลาดแบบขายตรงหลายชั้นหรือการตลาดแบบเครือข่ายถือกำเนิดอย่างแท้จริง เป็นยุคที่บริษัทยักษ์ใหญ่ของวงการ MLM มากมายได้ถือกำเนิดขึ้น บริษัทเหล่านี้คือ Tupperware, Shaklee, Amway และ Mary Kay
ในปี 1945 Earl Tupper เป็นผู้บุกเบิกสินค้าที่ทำจากพลาสติกที่อ่อนตัว น้ำหนักเบา ไม่แตกหักง่าย และสามารถปิดผนึกได้อย่างมิดชิด เริ่มทำตลาดโดยการขายส่งปกติ แต่ไม่ประสบความสำเร็จนัก ในปี 1951 เขาได้เปลี่ยนมาใช้แผน Party Plan โดยการสาธิตสินค้าตามงานปาร์ตี้ และขายสินค้าแบบขายตรง และประสบความสำเร็จอย่างสูง
ในปี 1956 Dr. Forrest Shaklee ผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านสารอาหาร ทำงานร่วมกับ Casimur Funk ผู้ที่ค้นพบวิตามิน ได้ก่อตั้งบริษัท Shaklee ซึ่งเป็นผู้แนะนำวิตามินเข้าไปสู่อเมริกา และได้ก่อตั้งระบบขายตรงหลายชั้นขึ้น บริษัท Shaklee เป็นยักษ์ใหญ่ของวงการวิตามินและอาหารเสริม
ในปี 1959 Rich Devos และ Jay Van Andel ได้ก่อตั้งบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าที่หลากหลายโดยใช้รูปแบบ MLM หรือการตลาดขายตรงหลายชั้น ซึ่งต่อมาเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ด้าน MLM ที่เป็นที่กล่าวขวัญถึงอย่างมาก มียอดขายทั่วโลกกว่า 7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีตัวแทนจำหน่ายอิสระเป็นล้านคนทั่วโลก ปัจจุบัน Amway ถือเป็นบริษัท MLM ที่ประสบความสำเร็จสูงสุดในโลก
ในปี 1963 Mary Kay Ash ซึ่งเป็นนักขายตรงจากบริษัท Stanley Home Product และบริษัทขายตรงอีกหลายบริษัท ได้ก่อตั้งบริษัท Mary Kay ซึ่งเป็นบริษัทของผู้หญิงบริษัทแรกๆของโลก Mary Kay ขายสินค้าเครื่องสำอาง ซึ่งต่อมาให้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
ในปี 1975 Federal Trade Commission ของสหรัฐฯ หรือ FTC ซึ่งเป็นหน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภคและคุ้มครองการแข่งขันอย่างเสรี ได้ดำเนินคดีฟ้องร้องต่อศาล ในปี 1956 Dr. Forrest Shaklee ผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านสารอาหาร ทำงานร่วมกับ Casimur Funk ผู้ที่ค้นพบวิตามิน ได้ก่อตั้งบริษัท Shaklee ซึ่งเป็นผู้แนะนำวิตามินเข้าไปสู่อเมริกา และได้ก่อตั้งระบบขายตรงหลายชั้นขึ้น บริษัท Shaklee เป็นยักษ์ใหญ่ของวงการวิตามินและอาหารเสริม
ในปี 1959 Rich Devos และ Jay Van Andel ได้ก่อตั้งบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าที่หลากหลายโดยใช้รูปแบบ MLM หรือการตลาดขายตรงหลายชั้น ซึ่งต่อมาเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ด้าน MLM ที่เป็นที่กล่าวขวัญถึงอย่างมาก มียอดขายทั่วโลกกว่า 7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีตัวแทนจำหน่ายอิสระเป็นล้านคนทั่วโลก ปัจจุบัน Amway ถือเป็นบริษัท MLM ที่ประสบความสำเร็จสูงสุดในโลก
ในปี 1963 Mary Kay Ash ซึ่งเป็นนักขายตรงจากบริษัท Stanley Home Product และบริษัทขายตรงอีกหลายบริษัท ได้ก่อตั้งบริษัท Mary Kay ซึ่งเป็นบริษัทของผู้หญิงบริษัทแรกๆของโลก Mary Kay ขายสินค้าเครื่องสำอาง ซึ่งต่อมาให้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
กล่าวหาว่า Amway ประกอบธุรกิจแบบปิระมิดที่ผิดกฎหมาย แต่หลังจากต่อสู้กันในศาลนานถึง 4 ปี ในปี 1979 ศาลสหรัฐฯ ก็ได้ตัดสินให้ Amway ชนะคดี
โดยศาลได้ตัดสินให้ แผนการจ่ายค่าตอบแทนของ Amway ซึ่งเป็นการตลาดขายตรงหลายชั้นเป็นแผนการจ่ายค่าตอบแทนที่ถูกกฎหมาย ไม่ได้เป็นแบบปิระมิดซึ่งเป็นแบบที่ผิดกฎหมายสหรัฐฯ
คดีดังกล่าวถึงเป็นกรณีตัวอย่างที่มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมขายตรงอย่างมากที่สุดในประวัติศาสตร์เลยที่เดียว หาก Amway แพ้คดีนี้ ธุรกิจ MLM ในโลกนี้อาจไม่เกิดและเจริญเติบได้อย่างทุกวันนี้
การชนะคดีของ Amway เป็นการนำทางให้บริษัท MLM ติดตามมาอีกเป็นจำนวนมาก และแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆทั่วโลก
ปัจจุบันเป็นยุคที่ MLM ได้รับการยอมรับมากขึ้นมีบริษัทจำนวนมากหันมาใช้การตลาดแบบ MLM ซึ่งเป็นช่องทางการจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพมากสามารถขยายตลาดได้อย่างรวดเร็วและมีรายได้ค่อนข้างสูง อย่างไรก็ดี ปัจจุบันก็มีบริษัทที่นำวิธีการทางการตลาดแบบ MLM ไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง
ได้มีการแพร่ระบาดของระบบที่เรียกว่า Pyramids หรือปิระมิด หรือการตลาดลักษณะที่เป็นแบบลูกโซ่ มีบริษัทที่ดำเนินธุรกิจในลักษณะที่หลอกลวงผู้บริโภค
โดยการรับสมัครคนเข้ามาสู่ระบบ และเสียเงินเพื่อการสมัคร มากกว่าการขายสินค้า ซึ่งในบางครั้งจะทำให้เป็นระบบที่เรียกว่า การเล่นเงิน Money game ซึ่งเป็นระบบที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
แนวโน้ม MLM ในอนาคตจะเป็นระบบที่สามารถกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภคอย่างยุติธรรม และมีการพัฒนาไปสู่ระบบ MLMที่สมบูรณ์ คือมีทั้ง ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้า และผู้บริโภคอยู่ในระบบเดียวกัน สามารถสลับหน้าที่กันได้อย่างสมบูรณ์และยุติธรรม
แชร์ลูกโซ่คืออะไร
ธุรกิจแชร์ลูกโซ่คืออะไร
"ไม่เน้นขายของขายบริการแต่เน้นหาสมาชิกเยอะๆ"
ธุรกิจแชร์ลูกโซ่ เป็นการระดมทุนจากประชาชนที่แพร่หลายและขยายตัวออกไปรวดเร็วมาก เนื่องจากจ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนสูงในระยะแรก จ่ายเงินตรงต่อเวลา และผู้ประกอบการมักอ้างว่าจะนำเงินไปลงทุนอย่างใดอย่างหนึ่งที่ได้ผลตอบแทนสูงในระยะเวลาสั้นๆ เช่น ซื้อขายน้ำมัน ( แชร์ชม้อย ) ซื้อขายที่ดินราคาถูก ( แชร์เสมาฟ้าคราม ) แชร์นากหญ้า เป็นต้น ลักษณะของผู้ประกอบการ มีทั้งที่เป็นบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล โดยอาจตั้งมาในรูปบริษัทจำกัดมีหนังสือจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ โดยจะเริ่มจากการโฆษณาชักชวนประชาชน ให้มาร่วมลงทุนอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ลงทุนซื้อขายน้ำมัน ที่ดิน เป็นต้น และอ้างว่าจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ในอัตราที่สูง และจ่ายในเวลาอันรวดเร็ว เป็นเครื่องมือในการดึงดูดลูกค้า ผู้สนใจจะร่วมลงทุนต้องจ่ายเงินลงทุนสูง โดยจะมีอัตราผลประโยชน์เป็นสัดส่วน และจะได้ผลประโยชน์ตอบแทน เมื่อหาสมาชิกมาร่วมลงทุนต่อกันไป จึงจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนได้ โดยจะทำการหาสมาชิกเป็นทอดๆ เพื่อนำค่าสมัครสมาชิกหรือค่าซื้อสินค้ามาปันผลกัน ดังนั้นผู้ที่เข้ามาเป็นสมาชิกใหม่ จะต้องเสียเงินในอัตราที่สูง (ไม่ว่าจะเป็นค่าสมาชิก หรือ ค่าสินค้าต่างๆก็ตาม) และสมาชิกใหม่ก็จะต้องหาสมาชิกเพิ่มอีก(หลอกคนอื่นเพื่อจะได้เงินคืน) เพื่อที่ว่าจะได้ค่าสมาชิกจากสมาชิกใหม่ ยิ่งหาได้มากก็จะได้เงินคืนมามาก ยิ่งมากขึ้นเรื่อยๆ ก็จะยิ่งได้ผลกำไรมากกว่าที่ลงทุนไป คนที่อยู่สูงๆก็จะยิ่งสบาย จนถึงจุดหนึ่งที่ในกลุ่มไม่สามารถนำเงินมาหมุนได้ ก็จะหนีหายไป ทิ้งไว้แต่เพียงหนี้สินให้กับคนที่อยู่ระดับล่างๆ ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่
"จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายแต่ไม่ดำเนินตามกฎหมาย"
ธุรกิจประเภทนี้มีวิวัฒนาการมาจากแชร์ลูกโซ่ เพียงแต่ได้เปลี่ยนวิธีการและรูปแบบในการดำเนินธุรกิจใหม่ โดยการนำเอาสินค้าและบริการมาใช้บังหน้า ธุรกิจนี้จะมีการโฆษณาชวนเชื่อแอบอ้างบุคคลสำคัญ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ และอวดอ้างสรรพคุณสินค้าจนเกินจริงเพื่อดึงดูดความสนใจและทำให้ราคาสินค้าสูงขึ้น ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่จะเน้นการหาสมาชิกเข้าร่วมเครือข่ายเป็นหลัก ไม่เน้นการขายสินค้า สินค้าส่วนใหญ่ที่นำมาขายตรงได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม สมุนไพร อัญมณี และคอร์สการเรียนหลักสูตรต่างๆ กลุ่มเป้าหมายที่ตกเป็นเหยื่อของธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่มักเป็นผู้มีรายได้ปานกลาง หรือนักศึกษาจบใหม่ที่กำลังหางานทำ ผู้ประกอบการจะใช้วิธีการลงประกาศทางหนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ รับสมัครงานในตำแหน่งต่างๆ แต่แท้จริงแล้วเมื่อมีใครหลงเข้าไปผู้ประกอบการจะให้สมัครสมาชิกเพื่อทำธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่ตามเงื่อนไขที่กำหนด ข้อสังเกตพฤติกรรมของธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่มีดังนี้
1. ขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่เป็นธุรกิจแอบแฝงจากธุรกิจขายตรง (MLM) มีรูปแบบการดำเนินธุรกิจโดยการชักชวนประชาชนให้สมัครเป็นสมาชิก โดยมีสินค้าบังหน้าเท่านั้น สมาชิกที่เข้าร่วมธุรกิจจะได้รับผลตอบแทนในอัตราสูงตามเงื่อนไขที่กำหนด
2.ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่มีความแตกต่างจากธุรกิจขายตรง เนื่องจากธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่จะมีการเก็บค่าสมัครสมาชิกและบังคับให้ซื้อสินค้าคุณภาพต่ำ ราคาสูง ไม่มุ่งเน้นการขายสินค้า แต่เน้นให้หาสมาชิกใหม่เพื่อรับผลตอบแทนจากการหาสมาชิกเพิ่ม แต่ธุรกิจขายตรงเน้นการขายสินค้าและสร้างองค์กร เพื่อให้เกิดการขายมากขึ้น รายได้เกิดจากยอดขายสินค้า
3. ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่ มีการดำเนินงานอย่างเป็นขบวนการ มีแม่ทีม มีสายงานการออกหาสมาชิกเพิ่ม หากสามารถหาสมาชิกได้มากจะได้รับผลตอบแทนสูง ซึ่งผลตอบแทนที่ได้รับนั้นมาจากเงินของสมาชิกใหม่ ไม่ได้เกิดจากการขายสินค้า
วิธีการรับมือกับธุรกิจแชร์ลูกโซ่
อย่าตอบตกลงหรือจ่ายเงินค่าสมาชิกหรือค่าสินค้าให้แก่กลุ่มบุคคลนั้นๆ จนกว่าจะแน่ใจว่านั้นคืองานที่ท่านต้องการทำจริงและท่านไม่ได้ถูกหลอก
ลองค้นหาชื่อบริษัทนั้นๆในเว็บ www.google.com แล้วทำการศึกษาข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยท่านในการตัดสินใจว่างานหรือธุรกิจที่ท่านเลือกตรงกับสิ่งที่ท่านต้องการจริงๆ แนะนำให้ค้นหา คำว่า แชร์ลูกโซ่ ธุรกิจหลอกลวง หรือชื่อบริษัทที่จะทำการสมัคร ทางเว็บไซท์หวังว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับผู้ที่กำลังหางานนะครับ
"ไม่เน้นขายของขายบริการแต่เน้นหาสมาชิกเยอะๆ"
ธุรกิจแชร์ลูกโซ่ เป็นการระดมทุนจากประชาชนที่แพร่หลายและขยายตัวออกไปรวดเร็วมาก เนื่องจากจ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนสูงในระยะแรก จ่ายเงินตรงต่อเวลา และผู้ประกอบการมักอ้างว่าจะนำเงินไปลงทุนอย่างใดอย่างหนึ่งที่ได้ผลตอบแทนสูงในระยะเวลาสั้นๆ เช่น ซื้อขายน้ำมัน ( แชร์ชม้อย ) ซื้อขายที่ดินราคาถูก ( แชร์เสมาฟ้าคราม ) แชร์นากหญ้า เป็นต้น ลักษณะของผู้ประกอบการ มีทั้งที่เป็นบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล โดยอาจตั้งมาในรูปบริษัทจำกัดมีหนังสือจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ โดยจะเริ่มจากการโฆษณาชักชวนประชาชน ให้มาร่วมลงทุนอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ลงทุนซื้อขายน้ำมัน ที่ดิน เป็นต้น และอ้างว่าจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ในอัตราที่สูง และจ่ายในเวลาอันรวดเร็ว เป็นเครื่องมือในการดึงดูดลูกค้า ผู้สนใจจะร่วมลงทุนต้องจ่ายเงินลงทุนสูง โดยจะมีอัตราผลประโยชน์เป็นสัดส่วน และจะได้ผลประโยชน์ตอบแทน เมื่อหาสมาชิกมาร่วมลงทุนต่อกันไป จึงจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนได้ โดยจะทำการหาสมาชิกเป็นทอดๆ เพื่อนำค่าสมัครสมาชิกหรือค่าซื้อสินค้ามาปันผลกัน ดังนั้นผู้ที่เข้ามาเป็นสมาชิกใหม่ จะต้องเสียเงินในอัตราที่สูง (ไม่ว่าจะเป็นค่าสมาชิก หรือ ค่าสินค้าต่างๆก็ตาม) และสมาชิกใหม่ก็จะต้องหาสมาชิกเพิ่มอีก(หลอกคนอื่นเพื่อจะได้เงินคืน) เพื่อที่ว่าจะได้ค่าสมาชิกจากสมาชิกใหม่ ยิ่งหาได้มากก็จะได้เงินคืนมามาก ยิ่งมากขึ้นเรื่อยๆ ก็จะยิ่งได้ผลกำไรมากกว่าที่ลงทุนไป คนที่อยู่สูงๆก็จะยิ่งสบาย จนถึงจุดหนึ่งที่ในกลุ่มไม่สามารถนำเงินมาหมุนได้ ก็จะหนีหายไป ทิ้งไว้แต่เพียงหนี้สินให้กับคนที่อยู่ระดับล่างๆ ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่
"จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายแต่ไม่ดำเนินตามกฎหมาย"
ธุรกิจประเภทนี้มีวิวัฒนาการมาจากแชร์ลูกโซ่ เพียงแต่ได้เปลี่ยนวิธีการและรูปแบบในการดำเนินธุรกิจใหม่ โดยการนำเอาสินค้าและบริการมาใช้บังหน้า ธุรกิจนี้จะมีการโฆษณาชวนเชื่อแอบอ้างบุคคลสำคัญ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ และอวดอ้างสรรพคุณสินค้าจนเกินจริงเพื่อดึงดูดความสนใจและทำให้ราคาสินค้าสูงขึ้น ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่จะเน้นการหาสมาชิกเข้าร่วมเครือข่ายเป็นหลัก ไม่เน้นการขายสินค้า สินค้าส่วนใหญ่ที่นำมาขายตรงได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม สมุนไพร อัญมณี และคอร์สการเรียนหลักสูตรต่างๆ กลุ่มเป้าหมายที่ตกเป็นเหยื่อของธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่มักเป็นผู้มีรายได้ปานกลาง หรือนักศึกษาจบใหม่ที่กำลังหางานทำ ผู้ประกอบการจะใช้วิธีการลงประกาศทางหนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ รับสมัครงานในตำแหน่งต่างๆ แต่แท้จริงแล้วเมื่อมีใครหลงเข้าไปผู้ประกอบการจะให้สมัครสมาชิกเพื่อทำธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่ตามเงื่อนไขที่กำหนด ข้อสังเกตพฤติกรรมของธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่มีดังนี้
1. ขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่เป็นธุรกิจแอบแฝงจากธุรกิจขายตรง (MLM) มีรูปแบบการดำเนินธุรกิจโดยการชักชวนประชาชนให้สมัครเป็นสมาชิก โดยมีสินค้าบังหน้าเท่านั้น สมาชิกที่เข้าร่วมธุรกิจจะได้รับผลตอบแทนในอัตราสูงตามเงื่อนไขที่กำหนด
2.ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่มีความแตกต่างจากธุรกิจขายตรง เนื่องจากธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่จะมีการเก็บค่าสมัครสมาชิกและบังคับให้ซื้อสินค้าคุณภาพต่ำ ราคาสูง ไม่มุ่งเน้นการขายสินค้า แต่เน้นให้หาสมาชิกใหม่เพื่อรับผลตอบแทนจากการหาสมาชิกเพิ่ม แต่ธุรกิจขายตรงเน้นการขายสินค้าและสร้างองค์กร เพื่อให้เกิดการขายมากขึ้น รายได้เกิดจากยอดขายสินค้า
3. ธุรกิจขายตรงแอบแฝงแบบแชร์ลูกโซ่ มีการดำเนินงานอย่างเป็นขบวนการ มีแม่ทีม มีสายงานการออกหาสมาชิกเพิ่ม หากสามารถหาสมาชิกได้มากจะได้รับผลตอบแทนสูง ซึ่งผลตอบแทนที่ได้รับนั้นมาจากเงินของสมาชิกใหม่ ไม่ได้เกิดจากการขายสินค้า
วิธีการรับมือกับธุรกิจแชร์ลูกโซ่
อย่าตอบตกลงหรือจ่ายเงินค่าสมาชิกหรือค่าสินค้าให้แก่กลุ่มบุคคลนั้นๆ จนกว่าจะแน่ใจว่านั้นคืองานที่ท่านต้องการทำจริงและท่านไม่ได้ถูกหลอก
ลองค้นหาชื่อบริษัทนั้นๆในเว็บ www.google.com แล้วทำการศึกษาข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นตัวช่วยท่านในการตัดสินใจว่างานหรือธุรกิจที่ท่านเลือกตรงกับสิ่งที่ท่านต้องการจริงๆ แนะนำให้ค้นหา คำว่า แชร์ลูกโซ่ ธุรกิจหลอกลวง หรือชื่อบริษัทที่จะทำการสมัคร ทางเว็บไซท์หวังว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับผู้ที่กำลังหางานนะครับ
ทุกวันนี้เราทำงานเพื่ออะไร
ทุกวันนี้เราทำงานเพื่ออะไร
ตอบ ทำเพื่อเงิน
ถาม เราหาเงินเพื่ออะไร
ตอบ
เพื่อใช้หนี้
เพื่อครอบครัว
ไว้เพื่อท่องเที่ยว
เพื่อความอยู่รอด
ไว้รักษาตัวเองยามแก่
เพื่อให้มีเงินใช้ตอนแก่
เพื่อจะได้สบายในตอนแก่
เพื่อเก็บไว้ให้ลูกยามเราเสียชีวิต
ถาม เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าครอบครัวเราจะไม่ลำบาก ถ้าเราเสียชีวิต?
ถาม เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าเราจะมีเงินใช้จนถึงตอนแก่?
ถาม เราจะมั่นใจอย่างไรว่าตอนแก่เราจะสบาย?
ถาม เราจะมั่นใจอย่างไรว่าลูกเราจะได้ใช้เงินที่เราหามา ถ้าลูกเราอายุแค่ไม่กี่ขวบยามเราเสียชีวิต?
ถาม เราจะใช้เวลาเท่าไหร่เราถึงจะใช้หนี้หมด ถ้าหนี้นั้นมากเป็นแสนๆ?
ถาม คุณคิดว่าจะทำงานหาเงินแค่เพื่อความอยู่รอดไปวันๆเท่านั้นหรือ?
ถาม คุณคิดว่าจะต้องเก็บเงินไว้เฉพาะรักษาตัวเองตอนแก่ซักกี่แสน?
ถาม คุณคิดว่าจะเก็บเงินไว้ท่องเที่ยวได้ซักกี่ประเทศ?
วันนี้คุณมีคำตอบแล้วหรือยัง? สำหรับตัวผมมีคำตอบแล้ว
คุณวาดแผนอนาคตไว้อย่างไร ?
คุณวาดแผนอนาคตไว้อย่างไร ?
ลองดูสถิติของคนทำงาน ที่เริ่มทำงานตั้งแต่อายุ 25 ปี จนเกษียณเมื่ออายุ 65 ปี
1 % มีฐานะร่ำรวย
4 % มีเงินเพียงพอเมื่อยามเกษียณ
3 % ยังคงต้องทำงานเพื่อหาเลี้ยงตัวเอง
63 % เป็นภาระของสังคม, ครอบครัว, ลูกหลาน, มูลนิธิ เป็นต้น
29 % เสียชีวิต ตามสถิตินี้ แสดงให้เห็นว่ามีเพียง 1 - 5% เท่านั้น ที่สามารถเรียกได้ว่า “ประสบความสำเร็จในชีวิต” แน่นอนคนเหล่านี้ จะต้องมีการวางแผนอนาคตที่ดี แล้วคุณล่ะ...วางแผนอนาคตไว้อย่างไร?
“คุณมีเงินเก็บมากน้อยแค่ไหนในปีที่แล้ว....แล้วใน 5 ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร....คาดได้เลยว่าอีก 5 ปีข้างหน้า เงินเก็บของคุณก็ยังคงเหมือนเดิม .... เว้นแต่ว่าคุณจะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่เสียก่อน...”
คุณจิม โรห์น (Jim Rohn) นักปรัชญาชาวอเมริกัน เคยได้กล่าวไว้ว่า
“เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ ในโลกนี้ได้ แต่เราสามารถทำให้สิ่งต่างๆ รอบตัวเปลี่ยนได้ ดังนั้นถ้าหากเราต้องการให้สิ่งต่างๆ รอบตัวเปลี่ยนแปลง จงเริ่มต้นเปลี่ยนแปลงตัวเองเสียก่อน”
เครื่องหมาย อ.ย กับเลขทะเบียนยา ต่างกันอย่างไร
เครื่องหมาย อ.ย กับเลขทะเบียนยา ต่างกันอย่างไร
เมื่อเราจะซื้ออาหาร ยา หรือ ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพเรามักจะถามหาเครื่องหมาย อ.ย. กัน
เครื่องหมาย อ.ย. ในความเข้าใจของผู้บริโภค คือ เครื่องหมายที่รับรองความปลอดภัยว่า สิ่งที่เราจะบริโภคได้รับการตรวจสอบแล้วว่า มีความปลอดภัยในการใช้
ซึ่งผู้บริโภคมักเข้าใจว่า คือเครื่องหมาย ที่มีอักษร อย แล้วตามด้วย ตัวเลยในกรอบสี่เหลื่ยมขนมเปียกปูน 13 หลัก ดังรูปข้างล่าง
ใช้สำหรับทุกผลิตภัณฑ์ แต่จริงๆ แล้ว เราจะเห็นสัญลักษณ์ เช่นนี้ เป็นสัญลักษณ์ ที่สำนักกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารสุข ออกให้แก่ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่มีภาชนะบรรจุปิดสนิทตัวอย่างอาหารเช่น ขนม นม น้ำดื่มเป็นต้น
ส่วนยา จะไม่มีสัญลักษณ์ อ.ย. รูปแบบนี้ แต่จะเป็นอักษร ว่า " ทะเบียนยาเลขที่ " แทน แล้วตามด้วยกลุ่มอักษรและตัวเลขของทะเบียนยาตัวนั้นๆ เช่น ทะเบียนยาของสมุนไพร จะขี้นต้นด้วยตัวอักษร G และตัวเลขตาม
แล้วทำไมสมุนไพรบางตัวจึงเห็นเป็นเครื่องหมาย อ.ย. เหมือนในอาหาร
อันนี้แสดงว่า สมุนไพรตัวนั้นขึ้นทะเบียนเป็นอาหาร ไม่สามารถอวดอ้างสรรพคุณทางยาได้ เช่น เครื่องดื่มเก็กฮวย เป็นต้น
ส่วนเครื่องสำอาง ก็จะแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
· เครื่องสำอางควบคุมพิเศษ เช่น น้ำยาดัดผม ยาสีฟัน เป็นต้น เครื่องสำอางประเภทนี้เรายังเห็นเครื่องหมาย อ.ย. ได้อยู่บ้าง เนื่องจากอย.ยังคงผ่อนผันให้ผู้ประกอบการรายเดิมใช้ฉลากที่มีเครื่องหมาย อย. ได้จนถึง 31 ธันวาคม 2553 นี้
· เครื่องสำอางควบคุม คือ เครื่องสำอางทุกชนิด ในส่วนนี้ จะใช้เป็น " เลขที่จดแจ้ง" ซึ่งจะแสดงบนฉลากหรือไม่ก็ได้
โดยสรุป
เมื่อเลือกซื้ออาหารและยา ควรดูการขึ้นทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นส่วนประกอบหนึ่งในการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ โดย
· อาหาร ให้ดูเครื่องหมาย อ.ย. ดังรูปข้างบน
· ยา ให้ ดูที่ เลขทะเบียนยา
ความแตกต่างระหว่างระบบ MLM และระบบปิรามิด
มาดูรูปแบบของปิรามิด หรือ แชร์ลูกโซ่ ก่อนครับว่าลักษณะเป็นอย่างไร
1. ค่าธรรมเนียมการสมัครสูง ผู้สมัครจะถูกหลอกให้จ่ายค่าฝึกอบรมและซื้อสินค้าเกินความต้องการและจะไม่ยอมคืนค่าสมัคร หรือค่าผลิตภัณฑ์ให้
2.ไม่สนใจที่จะขายสินค้าคุณภาพ ดังนั้น สินค้าส่วนใหญ่จะมีคุณภาพต่ำ ผลกำไรของระบบปิระมิดจะมาจากการรับสมัครสมาชิกใหม่ ซึ่งจะถูกบังคับให้ซื้อสินค้าที่มีราคาสูงเป็นจำนวนมาก
3. ไม่มีนโยบายรับซื้อสินค้ากลับคืนจากนักขายเพราะอาจทำให้ระบบปิระมิดล้มทลายลงได้
4. ร่ำรวยในระยะเวลาอันรวดเร็วบนความทุกข์ของผู้อื่น โดยผู้เข้าร่วมจำนวนมากที่ฐานของปิระมิดจะเป็นผู้จ่ายเงินให้แก่คนไม่กี่คนที่อยู่ในระดับจุดยอดของปิระมิด ซึ่งธุรกิจรูปแบบนี้ไม่สามารถอยู่ได้ยาวนาน
5. สามารถซื้อตำแหน่งที่อยู่ในระบบได้
6. ระบบนี้จะไม่เน้นการขายสินค้าให้กับผู้บริโภค แต่ผลกำไรจะมาจากสมาชิกที่สมัครใหม่ซึ่งจะต้องซื้อสินค้าเพื่อกักตุน มิใช่เพราะสินค้ามีประโยชน์ หรือคุ้มค่าคุ้มราคา แต่ถูกบังคับให้ซื้อตามระบบ สมาชิกใหม่จะต้องแบกรับภาระกับสินค้าที่ตนขายไม่ได้ และเมื่อระบบปิระมิดนี้ล้มทลายลง ก็จะไม่ได้รับเงินลงทุนกลับคืนมาเลย
7. ฉ้อฉลหลอกลวงให้คนเข้ามาในระบบ
8. ผู้เข้าร่วมจะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในการสมัครสูง หรือจ่ายค่าสินค้าซึ่งถูกบังคับให้ซื้อในตอนที่สมัคร
9. เน้นการรับสมัครสมาชิกใหม่เป็นหลัก โดยไม่สนใจการขายสินค้าและการบริการหลังการขาย แก่ลูกค้า
10. เป็นระบบที่ผิดกฎหมายในสหรัฐอเมริกาหลายประเทศในยุโรป รวมทั้งเอเชีย
คราวนี้มาดูความแตกต่างระหว่างระบบ MLM และระบบปิรามิด บ้างครับเนื่องจากรูปแบบของระบบปิระมิด หรือแชร์ลูกโซ่อาจมีความใกล้เคียงกับลักษณะบางประการของการขายตรงระบบการตลาดหลายชั้น (MLM) จึงขอให้พิจารณาถึงความแตกต่างระหว่างระบบทั้งสองที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน
1. ค่าธรรมเนียมการสมัครสูง ผู้สมัครจะถูกหลอกให้จ่ายค่าฝึกอบรมและซื้อสินค้าเกินความต้องการและจะไม่ยอมคืนค่าสมัคร หรือค่าผลิตภัณฑ์ให้
2.ไม่สนใจที่จะขายสินค้าคุณภาพ ดังนั้น สินค้าส่วนใหญ่จะมีคุณภาพต่ำ ผลกำไรของระบบปิระมิดจะมาจากการรับสมัครสมาชิกใหม่ ซึ่งจะถูกบังคับให้ซื้อสินค้าที่มีราคาสูงเป็นจำนวนมาก
3. ไม่มีนโยบายรับซื้อสินค้ากลับคืนจากนักขายเพราะอาจทำให้ระบบปิระมิดล้มทลายลงได้
4. ร่ำรวยในระยะเวลาอันรวดเร็วบนความทุกข์ของผู้อื่น โดยผู้เข้าร่วมจำนวนมากที่ฐานของปิระมิดจะเป็นผู้จ่ายเงินให้แก่คนไม่กี่คนที่อยู่ในระดับจุดยอดของปิระมิด ซึ่งธุรกิจรูปแบบนี้ไม่สามารถอยู่ได้ยาวนาน
5. สามารถซื้อตำแหน่งที่อยู่ในระบบได้
6. ระบบนี้จะไม่เน้นการขายสินค้าให้กับผู้บริโภค แต่ผลกำไรจะมาจากสมาชิกที่สมัครใหม่ซึ่งจะต้องซื้อสินค้าเพื่อกักตุน มิใช่เพราะสินค้ามีประโยชน์ หรือคุ้มค่าคุ้มราคา แต่ถูกบังคับให้ซื้อตามระบบ สมาชิกใหม่จะต้องแบกรับภาระกับสินค้าที่ตนขายไม่ได้ และเมื่อระบบปิระมิดนี้ล้มทลายลง ก็จะไม่ได้รับเงินลงทุนกลับคืนมาเลย
7. ฉ้อฉลหลอกลวงให้คนเข้ามาในระบบ
8. ผู้เข้าร่วมจะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในการสมัครสูง หรือจ่ายค่าสินค้าซึ่งถูกบังคับให้ซื้อในตอนที่สมัคร
9. เน้นการรับสมัครสมาชิกใหม่เป็นหลัก โดยไม่สนใจการขายสินค้าและการบริการหลังการขาย แก่ลูกค้า
10. เป็นระบบที่ผิดกฎหมายในสหรัฐอเมริกาหลายประเทศในยุโรป รวมทั้งเอเชีย
คราวนี้มาดูความแตกต่างระหว่างระบบ MLM และระบบปิรามิด บ้างครับเนื่องจากรูปแบบของระบบปิระมิด หรือแชร์ลูกโซ่อาจมีความใกล้เคียงกับลักษณะบางประการของการขายตรงระบบการตลาดหลายชั้น (MLM) จึงขอให้พิจารณาถึงความแตกต่างระหว่างระบบทั้งสองที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน
ดูๆ ไปแล้วโครงสร้างของอาชีพในปัจจุบันก็เข้าข่ายปิรามิดเหมือนกันนะครับ ดังรูปด้านบน เช่น
คนเข้าทำงานก่อนมักมีเงินเดือนและตำแหน่งสูงกว่าคนมาทีหลัง ทั้งที่คนมาทีหลังอาจทำงานเก่งกว่าหรือทำเยอะกว่าด้วยซ้ำไป แต่ไม่สามารถแซงคนที่มาก่อนได้ หรือแซงได้แต่ยากมากๆ
ที่มาของรายได้ในธุรกิจเครือข่าย
หลายคนอาจเคยได้ยินมีคนมาพูดว่าทำธุรกิจเครือข่ายแล้วมีรายได้เป็นแสน เป็นล้านต่อเดือน คงเกิดความสงสัยอยู่แล้วว่าบริษัทจะเอาเงินจากไหนมาจ่ายเยอะขนาดนั้น จ่ายจริงหรือเปล่า
คงต้องย้อนกลับไปดูการตลาดแบบเก่าครับว่าค่าการตลาดที่ผู้บริโภคไม่รู้มีลักษณะโครงสร้างเป็นยังไง ค่อยมาดูโครงสร้างการตลาดแบบใหม่ แล้วจะรู้ว่าเค้าเอาเงินจากไหนมาจ่ายเยอะขนาดนั้น
2. แบบ Passive Income คือ รายได้ที่ไม่จำเป็นต้องทำงานก็มีรายได้ หยุดทำงาน แต่รายได้ไม่หยุด
มักจะพบในบางอาชีพเท่านั้น เช่น ให้เช่าหอพัก คอนโด, อสังหาริมทรัพย์, ลิขสิทธิ์ทางปัญญา, แฟรนไชน์ ธุรกิจเครือข่าย
ธุรกิจเหล่านี้ แน่นอนว่าต้องมีการลงทุนที่สูง เช่น 7-11 ยังไงก็ลงทุนไม่ต่ำกว่า 2 ล้าน ให้เช่าหอพักหรือคอนโดก็ลงทุนหลายล้าน คงไม่มีเงินเยอะขนาดนั้นแน่ๆ
ทีนี้มาดูธุรกิจเครือข่ายกันดีกว่า ลงทุนสมัครเป็นสมาชิกไม่เกิน 300 บาท ทำงานสร้างกลุ่มผู้ใช้สินค้า ใช้ระยะเวลาสร้างไม่เกิน 2 ปีสำหรับรายได้หลักหมื่นต่อเดือน สำหรับคนขี้เกียจ แต่ถ้าคนขยัน มุมานะ ไม่กี่เดือนก็ทำได้แล้ว
ข้อดีอีกอย่างคือ เครือข่ายสามารถขยายเองได้ ถ้าเทียบกับตึกหรือคอนโดแล้วไม่สามารถขยายชั้น หรือขยายห้องเองได้ จะขยายได้ก็ต้องลงทุนเพิ่ม
รูปแบบของรายได้แบ่งเป็น 2 รูปแบบ
1. แบบ Active Income คือ รายได้ที่ต้องทำงานเท่านั้นถึงจะมีรายได้ ถ้าหยุดทำงาน รายได้ก็หยุดตามไปด้วย
มักจะพบในอาชีพ มนุษย์เงินเดือน และ คนหาเช้ากินค่ำ ที่ต้องเอาแรงกายและเวลาเข้าแลก ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่
คงต้องย้อนกลับไปดูการตลาดแบบเก่าครับว่าค่าการตลาดที่ผู้บริโภคไม่รู้มีลักษณะโครงสร้างเป็นยังไง ค่อยมาดูโครงสร้างการตลาดแบบใหม่ แล้วจะรู้ว่าเค้าเอาเงินจากไหนมาจ่ายเยอะขนาดนั้น
ดูจากรูปด้านบนก่อนนะครับ จะเป็นการตลาดแบบเก่าที่เราคุ้นเคยกันดี
สินค้าที่เราซื้อมา 100% สมมติว่าราคา 100 บาท
ต้นทุน+กำไรจากโรงงานจะอยู่ที่ 40 บาท หรือ 40%
อีก 60 บาท หรือ 60% จะไปตกอยู่กับคนกลาง ซึ่งก็คือ การโฆษณาสินค้า ธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจค้าปลีก
โดยเราในฐานะผู้บริโภคต้องจ่าย 100 บาท หรือ 100% เต็ม
แต่การตลาดแบบใหม่ (ดูจากรูปด้านล่าง) จะเห็นว่า คนกลางจะถูกตัดออกจากระบบ สังเกตุง่ายๆ ครับ สินค้าจะไม่มีโฆษณาทางโทรทัศน์ ซึ่งถ้าไม่มีโฆษณาโทรทัศน์ นั่นก็แปลว่า ไม่มีค่าเช่าสัญญาณดาวเทียม (คิดเป็นวินาที หลักแสนบาทขึ้นไป ถ้าเป็นช่วงเลิกงาน เลิกเรียน วันหยุด ค่าเช่าช่องสัญญาณจะแพงเป็นเท่าตัว) ไม่มีค่าตัวดารา และก็ไม่มีค่าจ้างทำโฆษณา สินค้าไม่มีขายในห้างสรรพสินค้า หรือไม่มีแม้กระทั่งร้านขายของเล็กๆ น้อยๆ
จากโครงสร้างนี้ สินค้าที่เราซื้อมา 100% สมมติว่าราคา 100 บาท
ต้นทุน+กำไรจากโรงงานจะอยู่ที่ 40 บาท หรือ 40%
โดยเราในฐานะผู้บริโภคต้องจ่าย 100 บาท หรือ 100% เต็ม เช่นกัน
ความแตกต่างอยู่ที่ เงิน 60 บาท หรือสัดส่วน 60% ที่ตัดออกจากคนกลาง
บริษัทจะนำมาทำเป็นเงินปันผลให้กับนักธุรกิจเครือข่ายตามแผนการตลาดที่บริษัทกำหนด
ถือว่าเป็นค่าโฆษณา หรือค่าลิขสิทธิ์แทนครับ
ซึ่งเป็นจำนวนเงินที่มหาศาลมากๆ ครับ ถ้าคนใต้องค์กรของเรามียอดซื้อกินซื้อใช้ 50 ล้านบาท
ทำไมบริษัทจะจ่ายโบนัสเป็นแสน เป็นล้านให้เราไม่ได้...
2. แบบ Passive Income คือ รายได้ที่ไม่จำเป็นต้องทำงานก็มีรายได้ หยุดทำงาน แต่รายได้ไม่หยุด
มักจะพบในบางอาชีพเท่านั้น เช่น ให้เช่าหอพัก คอนโด, อสังหาริมทรัพย์, ลิขสิทธิ์ทางปัญญา, แฟรนไชน์ ธุรกิจเครือข่าย
ธุรกิจเหล่านี้ แน่นอนว่าต้องมีการลงทุนที่สูง เช่น 7-11 ยังไงก็ลงทุนไม่ต่ำกว่า 2 ล้าน ให้เช่าหอพักหรือคอนโดก็ลงทุนหลายล้าน คงไม่มีเงินเยอะขนาดนั้นแน่ๆ
ทีนี้มาดูธุรกิจเครือข่ายกันดีกว่า ลงทุนสมัครเป็นสมาชิกไม่เกิน 300 บาท ทำงานสร้างกลุ่มผู้ใช้สินค้า ใช้ระยะเวลาสร้างไม่เกิน 2 ปีสำหรับรายได้หลักหมื่นต่อเดือน สำหรับคนขี้เกียจ แต่ถ้าคนขยัน มุมานะ ไม่กี่เดือนก็ทำได้แล้ว
ข้อดีอีกอย่างคือ เครือข่ายสามารถขยายเองได้ ถ้าเทียบกับตึกหรือคอนโดแล้วไม่สามารถขยายชั้น หรือขยายห้องเองได้ จะขยายได้ก็ต้องลงทุนเพิ่ม
รูปแบบของรายได้แบ่งเป็น 2 รูปแบบ
1. แบบ Active Income คือ รายได้ที่ต้องทำงานเท่านั้นถึงจะมีรายได้ ถ้าหยุดทำงาน รายได้ก็หยุดตามไปด้วย
มักจะพบในอาชีพ มนุษย์เงินเดือน และ คนหาเช้ากินค่ำ ที่ต้องเอาแรงกายและเวลาเข้าแลก ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่
ทำไมต้องทำธุรกิจเครือข่าย
ถามตัวเองดูครับว่า งานที่ทำปัจจุบันมั่นคงแค่ไหน หากเราไม่สามารถทำงานได้เกิน 3 เดือน เค้าจะยังจ้างเราอยู่มั้ย? รายได้ที่เข้ามา เราเป็นสาเหตุของรายได้รึเปล่า?
แล้วถ้าเกิดเราซึ่งเป็นสาเหตุของรายได้ ไม่สามารถทำงานหาเงินได้ ใครจะเดือดร้อน?
ถ้าทำเครือข่ายแล้วสามารถสร้างกระเป๋าสำรองไว้ใช้ยามฉุกเฉินจะดีกว่ามั้ยครับ ซึ่งเราเองก็ไม่รู้ว่าวันข้างหน้าเราจะเจ็บไข้ได้ป่วย หรือมีสาเหตุจำเป็นต้องใช้เงินเมื่อไหร่ บางทีอาจจะไม่ใช่เราก็ได้ที่ต้องใช้เงิน แต่มันอาจจะเป็น พ่อ แม่ ภรรยา ลูก ญาติ หรือเพื่อนๆ เรา
คิดแล้วก็กลัวครับ ถ้ามันเกิดขึ้นพรุ่งนี้ หรือมะรืนนี้ จะหาเงินที่ไหนทัน ทำตั้งแต่วันนี้ เล็กๆ น้อยๆ ก็ค่อยทำไปครับ กำแพงเมืองจีนที่ว่ายาวๆ ก็ยังต้องใช้หินทีละก้อนมาเรียงกันถึงจะยาวขนาดนั้นได้
ผมยังเชื่อเสมอว่า ผลลัพธ์ของอนาคต เกิดจากการกระทำในปัจจุบัน
ผลลัพธ์ในปัจจุบัน ก็เกิดจากการกระทำในอดีต
ดังนั้นถ้าอยากเปลี่ยนผลลัพธ์ในอนาคต วิธีการคือต้องเปลี่ยนการกระทำในวันนี้
การเดินออกไปจากองศาที่ต่างจากคนอื่น ทิศปลายทางก็ย่อมเปลี่ยน...
คิดแล้วก็กลัวครับ ถ้ามันเกิดขึ้นพรุ่งนี้ หรือมะรืนนี้ จะหาเงินที่ไหนทัน ทำตั้งแต่วันนี้ เล็กๆ น้อยๆ ก็ค่อยทำไปครับ กำแพงเมืองจีนที่ว่ายาวๆ ก็ยังต้องใช้หินทีละก้อนมาเรียงกันถึงจะยาวขนาดนั้นได้
ผมยังเชื่อเสมอว่า ผลลัพธ์ของอนาคต เกิดจากการกระทำในปัจจุบัน
ผลลัพธ์ในปัจจุบัน ก็เกิดจากการกระทำในอดีต
ดังนั้นถ้าอยากเปลี่ยนผลลัพธ์ในอนาคต วิธีการคือต้องเปลี่ยนการกระทำในวันนี้
การเดินออกไปจากองศาที่ต่างจากคนอื่น ทิศปลายทางก็ย่อมเปลี่ยน...
โจทย์ชีวิต ลิขิตอนาคต
เคยถามตัวเองมั้ยครับว่า เราทำงานเพื่ออะไร? แล้วงานที่ทำจะพาเราไปไหน?
หลายคนเรียนจบมา ตั้งเข็มทิศไว้เลยว่าจะต้องทำงานประจำ จนกว่าจะอายุ 60 ปี หลังจากนั้นค่อยใช้ชีวิตตามต้องการ
คำถามคือ แล้วถ้าเกิดอายุ 60 ปีแล้วยังไม่มีเงินใช้ หรือมีหนี้ติดตัว จะทำยังไง ในเมื่อสังขารร่างกายเริ่มถดถอย
มองภาพอนาคตตัวคุณเองถึงคนแก่ๆ แล้วยังต้องดิ้นรนหางานทำ เพื่อเอาเงินมาหล่อเลี้ยงครอบครัว มันจะไหวหรือ?
ผมอยากจะเปรียบเทียบระหว่างการทำงานประจำ กับ การทำงานเครือข่ายตามรูปด้านล่างนะครับ
ถ้าเฉลี่ยคนไทยมีอายุ 65 ปี และเรียนจบปริญญาตรี อายุประมาณ 20 ปี ต้นทุนชีวิตเท่ากันนะครับ
คนนึงทำงานประจำไปเรื่อยๆ จนเกษียณอายุที่ 60 ปี
สรุป ใช้ชีวิตไปกับการทำงาน 40 ปี เหลือ 5 ปีไว้ใช้ชีวิตตามที่ตัวเองต้องการ แล้วยังไม่รู้เลยว่าชีวิตต่อไปจะอยู่ยังไง ถ้าไม่มีเงินเหลือใช้ตอนแก่
กับอีกคนนึงเรียนจบมา หันไปทำเครือข่ายซัก 5 ปี แล้วจากนั้นเครือข่ายทำงานแทนเรา
สรุป ใช้ชีวิตไปกับการทำงาน 5 ปี ที่เหลืออีก 40 ปี คือกำไรชีวิตล้วนๆ ใช่หรือไม่?
หลายคนเรียนจบมา ตั้งเข็มทิศไว้เลยว่าจะต้องทำงานประจำ จนกว่าจะอายุ 60 ปี หลังจากนั้นค่อยใช้ชีวิตตามต้องการ
คำถามคือ แล้วถ้าเกิดอายุ 60 ปีแล้วยังไม่มีเงินใช้ หรือมีหนี้ติดตัว จะทำยังไง ในเมื่อสังขารร่างกายเริ่มถดถอย
มองภาพอนาคตตัวคุณเองถึงคนแก่ๆ แล้วยังต้องดิ้นรนหางานทำ เพื่อเอาเงินมาหล่อเลี้ยงครอบครัว มันจะไหวหรือ?
ผมอยากจะเปรียบเทียบระหว่างการทำงานประจำ กับ การทำงานเครือข่ายตามรูปด้านล่างนะครับ
ถ้าเฉลี่ยคนไทยมีอายุ 65 ปี และเรียนจบปริญญาตรี อายุประมาณ 20 ปี ต้นทุนชีวิตเท่ากันนะครับ
คนนึงทำงานประจำไปเรื่อยๆ จนเกษียณอายุที่ 60 ปี
สรุป ใช้ชีวิตไปกับการทำงาน 40 ปี เหลือ 5 ปีไว้ใช้ชีวิตตามที่ตัวเองต้องการ แล้วยังไม่รู้เลยว่าชีวิตต่อไปจะอยู่ยังไง ถ้าไม่มีเงินเหลือใช้ตอนแก่
กับอีกคนนึงเรียนจบมา หันไปทำเครือข่ายซัก 5 ปี แล้วจากนั้นเครือข่ายทำงานแทนเรา
สรุป ใช้ชีวิตไปกับการทำงาน 5 ปี ที่เหลืออีก 40 ปี คือกำไรชีวิตล้วนๆ ใช่หรือไม่?
แล้วเราจะปล่อยให้ตัวเองทำงานทั้งชีวิต เพียงแค่ต้องการเงินมาใช้แบบเดือนต่อเดือนเท่านั้น
หรือ ใช้เวลาเพียงบางช่วงของชีวิตทำงานสร้างเครือข่าย จากนั้นให้เครือข่ายที่สร้างเลี้ยงเราทั้งชีวิต
คุณต้องการมีชีวิตแบบไหนครับ ผมเชื่อว่าทุกคนเลือกได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)